[INV015] จดบันทึกจากการนำเสนอกลุ่ม Thai VI รุ่นที่ 7
จดบันทึกจากการนำเสนอกลุ่ม Thai VI รุ่นที่ 7 (22/02/2558)
คำเตือน: จดตามที่ได้ยินและความเข้าใจของตนเอง ไม่รับประกันความถูกต้อง ไม่สามารถใช้อ้างอิงได้ ...โปรดใช้วิจารณญาณในการเสพข้อมูล.
ผมเน้นแต่ส่วนที่อาจารย์คอมเม้นเพิ่มเติม ไม่ได้จด PE หรือราคาเป้าหมายที่แต่ละกลุ่มแนะนำนะครับ
HFT
- พันธมิตรแข็งแกร่ง มี sumitomo, ได้แบรนด์ Dunlop, OEM ให้กับแบรนด์จักรยานและมอเตอร์ไซด์
- ภาพรวมตลาดในต่างประเทศ มีสัดส่วนการใช้จักรยานเยอะ (ยุโรป, จีน, ญี่ปุ่น)
- สัดส่วนขายเป็นมอเตอร์ไซค์สูงสุด แต่ Growth เริ่มตก
- GPM ดีกว่าคู่แข่งมาก, เงินสดเยอะ, หนี้น้อย
- ยังได้เปรียบเรื่องวัตถุดิบ ราคายางต่ำต่อเนื่อง, stock ยางล้นโลก, สัดส่วน cost ที่เยอะสุดคือวัตถุดิบ
- ไม่รู้เอาเงินไว้ทำอะไร เงินสดเยอะแต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์
- valuation: ไม่มี growth.
TPCH
- holding company ลงทุนในธุรกิจพลังงานชีวมวล
- ขายให้กฟภ.เพียงรายเดียว, คู่แข่งไม่มี
- ศักยภาพยังไม่ดี, วัตถุดิบจะขาดแคลนไหม?, ความเป็นไปได้ของโครงการก็ยังไม่แน่นอน
- ระวังเรื่องความเสี่ยงให้มากๆ โครงการแรก fail ไป เกิดจากปัญหามวลชนต่อต้าน
- เปิดโรงงานในภาคใต้มีความเสี่ยง ลองคิดดูว่าเราเป็นบริษัทประกันจะกล้าคุ้มครองไหม?
น่าจะรับประกันได้แค่ asset แต่อาจจะไม่รวม business interuption (ต้องไปสอบถามกับ IR ดู)
TCAP
- คุม NPL ได้ดีกว่าคู่แข่ง (KKP, TISCO)
- แต่ NPL ก็ตกแต่งตัวเลขได้ ต้องระวัง สถานการณ์ตอนนี้กลับมีรถค้างอยู่ในเต็นท์ประมูลจำนวนมาก พวกแบงค์จะพยายามหาทางลด NPL ในงบ
- port เน้นไปทาง hire purchase ซึ่งมีข้อเสียคือ เป็นสินทรัพย์ด้อยค่า ส่วน port ที่เป็นอสังหาฯก็ยังโตน้อยมาก สู้แบงค์อื่นไม่ได้
- ดู ROE อย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูนโยบายในการตั้งสำรองด้วย
- ตอนบัฟเฟตต์ซื้อ Well Fargo เขาดูว่า ลูกค้า 1 ราย ใช้บริการอย่างอื่นกี่อย่าง?
- ดูเรื่อง Cost Selling
- PB น่าจะต่ำไปเรื่อยๆ
- ดูเรื่อง Cost to income: ถ้าลดตรงนี้ลงกำไรจะโตมาก
SYMC
- วางเครือข่าย fiber optic บริการหลักๆคือ 1. Internet Access 2. Private Network 3. IPLC
- IPLC มี growth เยอะสุด, broadband แย่ลง
- Trend: Internet Access ค่อยๆลดลง ส่วน IPLC กับ Private เพิ่มขึ้น
- ต้นทุน: มีค่าเสื่อมเพิ่มขึ้นจำนวนมาก, ค่าใช้จ่ายทางการเงินยังสูงอยู่
- margin ตกหมดทุกตัว
- หนี้โตขึ้นมาเยอะมาก D/E 0.32 -> 1.04
- ช่วง A/P ยาวมาก 196 วัน
- Valuation: ใช้ EV/EBITDA เพราะหักค่าเสื่อมมาก หนี้สูง
- ต้องดู ROIC: สำคัญมากสำหรับธุรกิจที่ลงทุนใน infrastructure
MOONG
- มีแบรนด์ Pigeon สินค้าเด่นคือ จุกนม, กระบอกนม, ผลิตภัณฑ์แม่และเด็ก, VCare, Foggy
- เป็น trading company นำแบรนด์จากญี่ปุ่นมาขาย
- Pigeon เป็นยี่ห้อเดียวที่มีขายใน 7-11
- ความเสี่ยง: อัตราการเกิดลดลง, คนมีลูกน้อยลง, สัดส่วน 75% ของยอดขายมาจากบริษัท TP จึงไม่มีอำนาจต่อรองมาก, ทุ่มกับ product ตัวเดิมๆมากเกินไป
- ดูว่า market share มันจะ stable ไหม? เพราะเป็นสินค้าที่ High turnover คือลูกค้าเป็นเด็กทารก กินนม 2-3 ปี ก็ออกจากตลาดไป เด็กที่เกิดใหม่จะเข้ามาก็ต้องตัดสินใจเลือกซื้อ สู้กับแบรนด์อื่นไปทุกๆครั้ง
MEGA
*** หุ้นของกลุ่มตัวเอง ผมออกไปพรีเซนต์เลยไม่ได้จดไว้ครับ ;P ***
L&E
- เน้นลูกค้าโครงการ ลูกค้าเป็นบริษัทใหญ่จึงไม่ค่อยมีอำนาจต่อรอง
- ได้เปรียบจาก Economy of Scale , know-how ในการทำ mass customisation
- การเติบโต: มาเน้นด้าน retail มากขึ้น เน้นหลอด LED
- จุดอ่อน: เงินสดน้อย, CCC 216 วัน, เงินกู้เยอะขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว, มี warrant จะเข้ามา dilute, ต้องตั้งสำรองจากลูกค้าโครงการ
- พม่ายังมีปัญหาด้านกฎหมาย ยังไม่มีรูปแบบศาลเหมือนสากล มีความเสี่ยงด้านการทำสัญญากับลูกค้าโครงการ
- ตลาด LED มี market share 25%
- เป็นธุรกิจที่ยิ่งขยาย ยิ่งต้องการเงินสด
- ความเสี่ยงที่เน้นลูกค้าโครงการ ถ้าเป็นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์แล้วเศรษฐกิจไม่ดีก็จะโดนหนี้เสีย
CBG
- 23% ขายเชื่อ, 77% ขายสด ต้องวางเงินก่อนจึงจะส่งของให้
- บริษัทลูก: APG ผลิตขวดแก้วให้ ยังไม่รับ OEM, CBD ทำ packaging, DCM จัดจำหน่าย
- market share อันดับ 2 รองจาก M150
- การประเมิน PE: จะให้เท่าไหร่ขึ้นอยู่กับการเติบโต ถ้าจะอ้างกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมต้องระวังตัวที่เป็น outliner ต้องเทียบกับบริษัทที่ขาย product แบบเดียวกัน
- แยกเป็น 3 บริษัทย่อย แต่ยังไม่มี Economy of scale อาจทำให้ NPM ยิ่งต่ำลง อาจดูทางเลือกการ outsource
- ในประเทศไม่โต ตลาดค่อนข้างอิ่มตัวแล้ว
- ลองเปรียบเทียบ NPM กับ ICHI, OISHI
- เครื่องดื่มชูกำลัง มีปัญหาที่ขึ้นราคาไม่ได้ (กลุ่มเป้าหมายจะมี price sensitivity มากๆ)
- ที่ออกโฆษณาโม้เรื่องวิตามิน B12 เสี่ยงถูกฟ้องร้องได้
- กระทิงแดงประกาศจะทวงอันดับที่ 2 คืน
- วิเคราะห์หุ้น consumer ต้องดู marketing analysis ให้เยอะๆ อย่าเน้นแต่ financial
- ลองดูเคส Monster drink ของ USA, เจาะกลุ่มตลาดชั้นกลาง
- ที่เวียดนามเห็นแต่กระทิงแดง
- การคุกคามจากสินค้าทดแทน: ถ้าจะเปรียบเทียบต้องดูเรื่องปริมาณคาเฟอีนและราคาที่ใกล้เคียงกันด้วย
BEAUTY
- Beauty Buffet สัดส่วน 76%
- ตลาด cosmetic เติบโตได้ดี แม้ในปีที่ GDP ติดลบ
- ตลาด cosmetic ในไทย ช่องทางขายตรง 50%, counter 30%, หน้าร้าน 20%
- GPM 71.5% สูงสุดเมื่อเทียบกับคู่แข่ง
- skin care มี brand loyalty สูงกว่า cosmetic
- เงินสดเยอะ, inventory เพิ่มตามยอดขาย, ไม่มีหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย, คุมค่าใช้จ่ายในการขายได้ดี
- นักท่องเที่ยวจีนมีสัดส่วนเป็น 15% ของลูกค้าต่างชาติ ชอบมาซื้อทียกลังกลับประเทศ
- ติดตามเรื่องการขยายสาขา ต้องแข่งกับเจ้าใหญ่ Oreintal Princess, Cute Press
- ถ้าจะลุย retail ต้องหา location ดีๆให้ได้
- เรื่อง online อาจจะเป็น threat ถ้ามีสาขาเยอะในอีก 10 ปีข้างหน้า
- สาขาต่อไปจะอยู่แค่ในห้างไหม?
- KARMART ขายส่ง เน้น push แหลก ราคาแต่ละช่องทางไม่เท่ากัน ไม่สามารถคุม customer experience ได้ แต่ BEAUTY มองเป็นค้าปลีกมากกว่า
- ผู้บริหารมีความสามารถ มีความตั้งใจ หาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมสม่ำเสมอ
- หุ้นค้าปลีกอยู่ที่ผู้บริหาร ดูเรื่องความใส่ใจในรายละเอียด
ANAN
- กลุ่ม Condo มี market share เป็นอันดับ 2 (รองจาก LPN)
- ที่ GPM สูงเพราะมีค่า goodwill มาเป็นตัวตัดต้นทุน หลังจากกลับสู่ภาวะปกติบริษัทตั้งเป้า maintain ที่ 35%
- SG&A พุ่ง เพราะค่าพนักงานและค่าโฆษณา
- คู่แข่งตรงๆคือ SIRI
- ควรจะต้องมีอสังหาอื่นให้เช่า เพื่อ balance port อย่าง LH มีทั้งบ้าน คอนโด โรงแรม สำนักงาน จะเห็น NPM ที่ดีกว่า เป็นโมเดลที่บริษัทอสังหาในระดับ global เป็นกันทั้งนั้น
- การพยายามจะโตนอก sector ที่ถนัด จะทำให้เห็น growth ที่ช้าลง
- ANAN กับ SIRI เน้นการบริหารเงินมากกว่าการทำธุรกิจ (Money game)
- ผู้บริหารต้องเก่ง เพราะต้องมีความยืดหยุ่นในการ move กลยุทธ์ของตัวเอง, ผู้บริหารที่จบ finance จะได้เปรียบ
- ให้ดู inventory turnover ต้องหมุนเร็ว จะได้มีเงินมาลงทุนต่อเนื่อง คือ 1. ขายหมดเร็ว 2. สร้างเสร็จเร็ว
- คนเริ่มติด brand คอนโดตั้งแต่สมัยต้มยำกุ้ง เพราะบริษัทในตลาดจะน่าเชื่อถือกว่า
ampmie152.
http://ampmie152.blogspot.com
คำเตือน: จดตามที่ได้ยินและความเข้าใจของตนเอง ไม่รับประกันความถูกต้อง ไม่สามารถใช้อ้างอิงได้ ...โปรดใช้วิจารณญาณในการเสพข้อมูล.
ผมเน้นแต่ส่วนที่อาจารย์คอมเม้นเพิ่มเติม ไม่ได้จด PE หรือราคาเป้าหมายที่แต่ละกลุ่มแนะนำนะครับ
HFT
- พันธมิตรแข็งแกร่ง มี sumitomo, ได้แบรนด์ Dunlop, OEM ให้กับแบรนด์จักรยานและมอเตอร์ไซด์
- ภาพรวมตลาดในต่างประเทศ มีสัดส่วนการใช้จักรยานเยอะ (ยุโรป, จีน, ญี่ปุ่น)
- สัดส่วนขายเป็นมอเตอร์ไซค์สูงสุด แต่ Growth เริ่มตก
- GPM ดีกว่าคู่แข่งมาก, เงินสดเยอะ, หนี้น้อย
- ยังได้เปรียบเรื่องวัตถุดิบ ราคายางต่ำต่อเนื่อง, stock ยางล้นโลก, สัดส่วน cost ที่เยอะสุดคือวัตถุดิบ
- ไม่รู้เอาเงินไว้ทำอะไร เงินสดเยอะแต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์
- valuation: ไม่มี growth.
TPCH
- holding company ลงทุนในธุรกิจพลังงานชีวมวล
- ขายให้กฟภ.เพียงรายเดียว, คู่แข่งไม่มี
- ศักยภาพยังไม่ดี, วัตถุดิบจะขาดแคลนไหม?, ความเป็นไปได้ของโครงการก็ยังไม่แน่นอน
- ระวังเรื่องความเสี่ยงให้มากๆ โครงการแรก fail ไป เกิดจากปัญหามวลชนต่อต้าน
- เปิดโรงงานในภาคใต้มีความเสี่ยง ลองคิดดูว่าเราเป็นบริษัทประกันจะกล้าคุ้มครองไหม?
น่าจะรับประกันได้แค่ asset แต่อาจจะไม่รวม business interuption (ต้องไปสอบถามกับ IR ดู)
TCAP
- คุม NPL ได้ดีกว่าคู่แข่ง (KKP, TISCO)
- แต่ NPL ก็ตกแต่งตัวเลขได้ ต้องระวัง สถานการณ์ตอนนี้กลับมีรถค้างอยู่ในเต็นท์ประมูลจำนวนมาก พวกแบงค์จะพยายามหาทางลด NPL ในงบ
- port เน้นไปทาง hire purchase ซึ่งมีข้อเสียคือ เป็นสินทรัพย์ด้อยค่า ส่วน port ที่เป็นอสังหาฯก็ยังโตน้อยมาก สู้แบงค์อื่นไม่ได้
- ดู ROE อย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูนโยบายในการตั้งสำรองด้วย
- ตอนบัฟเฟตต์ซื้อ Well Fargo เขาดูว่า ลูกค้า 1 ราย ใช้บริการอย่างอื่นกี่อย่าง?
- ดูเรื่อง Cost Selling
- PB น่าจะต่ำไปเรื่อยๆ
- ดูเรื่อง Cost to income: ถ้าลดตรงนี้ลงกำไรจะโตมาก
SYMC
- วางเครือข่าย fiber optic บริการหลักๆคือ 1. Internet Access 2. Private Network 3. IPLC
- IPLC มี growth เยอะสุด, broadband แย่ลง
- Trend: Internet Access ค่อยๆลดลง ส่วน IPLC กับ Private เพิ่มขึ้น
- ต้นทุน: มีค่าเสื่อมเพิ่มขึ้นจำนวนมาก, ค่าใช้จ่ายทางการเงินยังสูงอยู่
- margin ตกหมดทุกตัว
- หนี้โตขึ้นมาเยอะมาก D/E 0.32 -> 1.04
- ช่วง A/P ยาวมาก 196 วัน
- Valuation: ใช้ EV/EBITDA เพราะหักค่าเสื่อมมาก หนี้สูง
- ต้องดู ROIC: สำคัญมากสำหรับธุรกิจที่ลงทุนใน infrastructure
MOONG
- มีแบรนด์ Pigeon สินค้าเด่นคือ จุกนม, กระบอกนม, ผลิตภัณฑ์แม่และเด็ก, VCare, Foggy
- เป็น trading company นำแบรนด์จากญี่ปุ่นมาขาย
- Pigeon เป็นยี่ห้อเดียวที่มีขายใน 7-11
- ความเสี่ยง: อัตราการเกิดลดลง, คนมีลูกน้อยลง, สัดส่วน 75% ของยอดขายมาจากบริษัท TP จึงไม่มีอำนาจต่อรองมาก, ทุ่มกับ product ตัวเดิมๆมากเกินไป
- ดูว่า market share มันจะ stable ไหม? เพราะเป็นสินค้าที่ High turnover คือลูกค้าเป็นเด็กทารก กินนม 2-3 ปี ก็ออกจากตลาดไป เด็กที่เกิดใหม่จะเข้ามาก็ต้องตัดสินใจเลือกซื้อ สู้กับแบรนด์อื่นไปทุกๆครั้ง
MEGA
*** หุ้นของกลุ่มตัวเอง ผมออกไปพรีเซนต์เลยไม่ได้จดไว้ครับ ;P ***
L&E
- เน้นลูกค้าโครงการ ลูกค้าเป็นบริษัทใหญ่จึงไม่ค่อยมีอำนาจต่อรอง
- ได้เปรียบจาก Economy of Scale , know-how ในการทำ mass customisation
- การเติบโต: มาเน้นด้าน retail มากขึ้น เน้นหลอด LED
- จุดอ่อน: เงินสดน้อย, CCC 216 วัน, เงินกู้เยอะขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว, มี warrant จะเข้ามา dilute, ต้องตั้งสำรองจากลูกค้าโครงการ
- พม่ายังมีปัญหาด้านกฎหมาย ยังไม่มีรูปแบบศาลเหมือนสากล มีความเสี่ยงด้านการทำสัญญากับลูกค้าโครงการ
- ตลาด LED มี market share 25%
- เป็นธุรกิจที่ยิ่งขยาย ยิ่งต้องการเงินสด
- ความเสี่ยงที่เน้นลูกค้าโครงการ ถ้าเป็นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์แล้วเศรษฐกิจไม่ดีก็จะโดนหนี้เสีย
CBG
- 23% ขายเชื่อ, 77% ขายสด ต้องวางเงินก่อนจึงจะส่งของให้
- บริษัทลูก: APG ผลิตขวดแก้วให้ ยังไม่รับ OEM, CBD ทำ packaging, DCM จัดจำหน่าย
- market share อันดับ 2 รองจาก M150
- การประเมิน PE: จะให้เท่าไหร่ขึ้นอยู่กับการเติบโต ถ้าจะอ้างกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมต้องระวังตัวที่เป็น outliner ต้องเทียบกับบริษัทที่ขาย product แบบเดียวกัน
- แยกเป็น 3 บริษัทย่อย แต่ยังไม่มี Economy of scale อาจทำให้ NPM ยิ่งต่ำลง อาจดูทางเลือกการ outsource
- ในประเทศไม่โต ตลาดค่อนข้างอิ่มตัวแล้ว
- ลองเปรียบเทียบ NPM กับ ICHI, OISHI
- เครื่องดื่มชูกำลัง มีปัญหาที่ขึ้นราคาไม่ได้ (กลุ่มเป้าหมายจะมี price sensitivity มากๆ)
- ที่ออกโฆษณาโม้เรื่องวิตามิน B12 เสี่ยงถูกฟ้องร้องได้
- กระทิงแดงประกาศจะทวงอันดับที่ 2 คืน
- วิเคราะห์หุ้น consumer ต้องดู marketing analysis ให้เยอะๆ อย่าเน้นแต่ financial
- ลองดูเคส Monster drink ของ USA, เจาะกลุ่มตลาดชั้นกลาง
- ที่เวียดนามเห็นแต่กระทิงแดง
- การคุกคามจากสินค้าทดแทน: ถ้าจะเปรียบเทียบต้องดูเรื่องปริมาณคาเฟอีนและราคาที่ใกล้เคียงกันด้วย
BEAUTY
- Beauty Buffet สัดส่วน 76%
- ตลาด cosmetic เติบโตได้ดี แม้ในปีที่ GDP ติดลบ
- ตลาด cosmetic ในไทย ช่องทางขายตรง 50%, counter 30%, หน้าร้าน 20%
- GPM 71.5% สูงสุดเมื่อเทียบกับคู่แข่ง
- skin care มี brand loyalty สูงกว่า cosmetic
- เงินสดเยอะ, inventory เพิ่มตามยอดขาย, ไม่มีหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย, คุมค่าใช้จ่ายในการขายได้ดี
- นักท่องเที่ยวจีนมีสัดส่วนเป็น 15% ของลูกค้าต่างชาติ ชอบมาซื้อทียกลังกลับประเทศ
- ติดตามเรื่องการขยายสาขา ต้องแข่งกับเจ้าใหญ่ Oreintal Princess, Cute Press
- ถ้าจะลุย retail ต้องหา location ดีๆให้ได้
- เรื่อง online อาจจะเป็น threat ถ้ามีสาขาเยอะในอีก 10 ปีข้างหน้า
- สาขาต่อไปจะอยู่แค่ในห้างไหม?
- KARMART ขายส่ง เน้น push แหลก ราคาแต่ละช่องทางไม่เท่ากัน ไม่สามารถคุม customer experience ได้ แต่ BEAUTY มองเป็นค้าปลีกมากกว่า
- ผู้บริหารมีความสามารถ มีความตั้งใจ หาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมสม่ำเสมอ
- หุ้นค้าปลีกอยู่ที่ผู้บริหาร ดูเรื่องความใส่ใจในรายละเอียด
ANAN
- กลุ่ม Condo มี market share เป็นอันดับ 2 (รองจาก LPN)
- ที่ GPM สูงเพราะมีค่า goodwill มาเป็นตัวตัดต้นทุน หลังจากกลับสู่ภาวะปกติบริษัทตั้งเป้า maintain ที่ 35%
- SG&A พุ่ง เพราะค่าพนักงานและค่าโฆษณา
- คู่แข่งตรงๆคือ SIRI
- ควรจะต้องมีอสังหาอื่นให้เช่า เพื่อ balance port อย่าง LH มีทั้งบ้าน คอนโด โรงแรม สำนักงาน จะเห็น NPM ที่ดีกว่า เป็นโมเดลที่บริษัทอสังหาในระดับ global เป็นกันทั้งนั้น
- การพยายามจะโตนอก sector ที่ถนัด จะทำให้เห็น growth ที่ช้าลง
- ANAN กับ SIRI เน้นการบริหารเงินมากกว่าการทำธุรกิจ (Money game)
- ผู้บริหารต้องเก่ง เพราะต้องมีความยืดหยุ่นในการ move กลยุทธ์ของตัวเอง, ผู้บริหารที่จบ finance จะได้เปรียบ
- ให้ดู inventory turnover ต้องหมุนเร็ว จะได้มีเงินมาลงทุนต่อเนื่อง คือ 1. ขายหมดเร็ว 2. สร้างเสร็จเร็ว
- คนเริ่มติด brand คอนโดตั้งแต่สมัยต้มยำกุ้ง เพราะบริษัทในตลาดจะน่าเชื่อถือกว่า
ampmie152.
http://ampmie152.blogspot.com
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น